"การเรียนครั้งที่2"

        ทักษะการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย



บทที่ 1 ธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
ธรรมชาติและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
วัยเด็กตอนต้นหรือช่วงปฐมวัยเป็นช่วงวัยที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการอบรมเลี้ยงดูควรให้ความสนใจและให้ความสำคัญ เพราะเป็นช่วงวัยที่มีความสำคัญที่สุด ต่อการวางรากฐานของชีวิตมนุษย์ เป็นวัยแห่งการก่อเกิดพื้นฐานด้านบุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย ความสามารถทางสติปัญญา และความสามารถด้านต่าง ๆ การเข้าใจธรรมชาติและการเรียนรู้


"ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย"
     1. ลักษณะของการยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
     2. มีความสามารถในขอบเขตจำกัดและแตกต่างกัน
    3. ต้องการการเอาใจใส่ดูแลทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
    4. เป็นวัยที่ชอบอิสระ
    5. ชอบแสดงออกและต้องการการยอมรับ
    6. ชอบเล่น
    7. มีช่วงความสนใจสั้น


          "การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย"
1. การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง 
2. การเรียนรู้จากประสบการณ์ทางอ้อม
           "ธรรมชาติของการเรียนรู้"
1. มีสิ่งเร้ามาเร้าผู้เรียน
2. ผู้เรียนรับรู้สิ่งเร้า
3. ผู้เรียนแปลความหมายของสิ่งเร้าที่รับรู้
4. ผู้เรียนมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้
และแปลความหมาย
5. ผู้เรียนสังเกตผลที่เกิดขึ้น
"การจำแนกลักษณะการเรียนรู้ของเด็ก"

ลักษณะที่ 1 การเรียนรู้โดยสัญชาตญาณ
ลักษณะที่ 2 เป็นการเรียนรู้จากการช่วยเหลือจากพ่อแม่
ลักษณะที่ 3 การเรียนรู้จากโปรแกรมการพัฒนาพฤติกรรมอย่างมีระบบ


    "รูปแบบการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย"
1. การเรียนรู้โดยใช้ความสามารถในการใช้สายตา
2. การเรียนรู้โดยการได้ยินได้ฟัง
3. การเรียนรู้โดยการใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกาย
"กระบวนการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย"

การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาในช่วงชีวิตของแต่ละคน และช่วงปฐมวัยเป็นช่วงที่มนุษย์สามารถเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้ดี
"แนวคิดของการเรียนรู้"
การเรียนรู้
กระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คน
สามารถเรียนได้จากการได้ยินการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้ของเด็กและผู้ใหญ่จะต่างกัน เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ที่มีอยู่ แต่การเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอนนำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอนจะเป็นผู้ที่สร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้
1.การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ
Bloom ได้แบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 6 ระดับ ประกอบด้วย
      1.ความจำ (knowledge) 
      2.การประยุกต์ (Application)
      3.ความเข้าใจ (Comprehend) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด
      4.การสังเคราะห์ (Synthesis)
      5.การวิเคราะห์ ( Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้ สามารถนำส่วนต่าง ๆ มาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ได้ ให้แตกต่างจากรูปเดิม
      6.การประเมินค่า (Evaluation) สามารถวัดได้ เน้นโครงสร้างใหม่ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด
2.การเรียนรู้ตามทฤษฎีของเมเยอร์ (MAYOR)
      1. พฤติกรรมควรชี้ชัดและสังเกตได้
      2. เงื่อนไขพฤติกรรมสำเร็จได้ควรมีเงื่อนไขในการช่วยเหลือ
      3. มาตรฐาน พฤติกรรมที่ได้นั้นสามารถอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด
3.การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์ (BRUNER)
      1. ความรู้ถูกสร้างหรือหล่อหลอมโดยประสบการณ์
      2. ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
      3. ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่าง ๆ
      4. ผู้เรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง
      5. ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง ซึ่งเนื้อหาควรถูกสร้างในภาพรวม
4.การเรียนรู้ตามทฤษฎีของไทเลอร์ (TYLOR)
     1. ความต่อเนื่อง (continuity)
     2. การจัดช่วงลำดับ (sequence)
     3. บูรณาการ (integration)
5. ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้น ของกาเย่ (GAGNE)
     1. การจูงใจ (Motivation Phase)
     2. การรับรู้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ (Apprehending Phase)
     3. การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจำ ( Acquisition Phase)
     4. ความสามารถในการจำ (Retention Phase)
     5. ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว (Recall Phase)
     6. การนำไปประยุกต์ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว (Generalization Phase)
     7. การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้ ( Performance Phase)
     8. การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน (Feedback Phase)
"ประโยชน์ของการจัดกิจกรรม"
เด็กปฐมวัย เป็นวัยที่ต้องการออกมาสัมผัสกับโลกภายนอกมากขึ้น
เริ่มมีสังคมนอกบ้าน เด็กจะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวด้วยความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น และมักมีจินตนาการ ของตนเอง เด็กจะเรียนรู้ภาษาและคำพูดได้เร็ว ชอบเลียนแบบในขณะเดียวกันก็ต้องการอิสระ อยากพึ่งตนเอง และต้องการทำกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง กิจกรรมของเด็กปฐมวัยจึง มีความสำคัญมาก



                          สรุป

  ●การเลือกสื่อสำหรับเด็กปฐมวัยควรเน้นพัฒนาการทั้ง 4
  ●ส่วนการทำกิจกรรมต่าง ๆ ควรปล่อยให้เด็กเป็นตัวของตัวเองและกระตุ้นให้เด็กได้ ใช้ความสามารถแสดงออกให้มากที่สุดเท่าที่เขาปรารถนาควรให้ความสนใจในกิจกรรมของเขา


ประเภทของสื่อการเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย
แหล่งเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยเป็น 2 ลักษณะ
 1. สื่อและแหล่งเรียนรู้ภายในห้องเรียน
 2. สื่อและแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน สภาพแวดล้อมต่าง
ดร.ชัยวงศ์  พรหมวงศ์ นักเทคโนโลยีทางการศึกษา ได้แบ่งสื่อการสอนออกเป็น 3 ประเภท คือ
1.  สื่อการสอนประเภทวัสดุ
2.  สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
3.  สื่อการสอนประเภทวิธีการ
การเล่นของเด็กปฐมวัย
3.ประเภทของสื่อสร้างสรรค์และเครื่องเล่น
 บล็อก
   ●เครื่องเล่นสัมผัส
   ●เกมการศึกษา
   ●ชุดฝึกทักษะการเคลื่อนไหว
   ●หนังสือภาพนิทาน
   ●หุ่นต่าง ๆ
   ●ศิลปะสร้างสรรค์
   ●ชุดฝึกทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
   ●เพลงและดนตรี
   ●เล่นบทบาทสมมติหรือเลียนแบบชีวิตจริง
1. หลักการเลือกสื่อสร้างสรรค์
     1.1 ประโยชน์
     1.2 ประหยัด
     1.3 ประสิทธิภาพ
2. ประโยชน์ของการใช้สื่อสร้างสรรค์
3. ประโยชน์ของการใช้สื่อสร้างสรรค์ที่ส่งผลผู้สอน


                            สรุป

 ●การใช้สื่อสร้างสรรค์หมายถึงสื่อการสอนที่ดีที่สามารถถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ ทัศนคติ แนวคิด และทักษะในการพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพตามจุดมุ่งหมาย การวางแผนสร้างสรรค์สื่อการสอนหรือการปรับปรุงสื่อการสอนให้มีประสิทธิภาพและมีสภาพที่ดี
 ●การสอนสำหรับเด็ก ต้องให้เหมาะสมกับลักษณะและความสามารถหรือพัฒนาการด้าน ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และจิตใจของเด็กปฐมวัยอีกทั้งยังต้องเน้นให้เด็กเป็นศูนย์กลาง ได้ฝึกปฏิบัติและเรียนรู้ด้วยตนเองให้มา


    การเรียนในครั้งนี้นะคะเรียนเกี่ยวกับทฤษฏีการทำสื่อบรรยากาศภายในห้องเรียนเหมาะสมดีเอื้อต่อการเรียนรู้ภายในห้องเรียนมีการถามตอบทำความเข้าใจไปพร้อมๆกันค่ะ
#บรรยากาศภายในห้องเรียนนะคะ



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้